พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการห้วยบางทราย จังหวัดมุกดาหาร เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๗, ๕ กรกฎาคม ๒๕๓๗, ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๗ กับเจ้าหน้าที่กรมชลประทาน และสำนักงาน กปร. สรุปดังนี้...
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการห้วยบางทราย จังหวัดมุกดาหาร เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๗, ๕ กรกฎาคม ๒๕๓๗, ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๗ กับเจ้าหน้าที่กรมชลประทาน และสำนักงาน กปร. สรุปดังนี้...
โครงการหลวง เป็นโครงการพัฒนาช่วยเหลือชาวเขา หรือ ชุมชนบนพื้นที่สูงให้มีอาชีพรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเพื่อมนุษยธรรม ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และกำจัดการปลูกฝิ่น โดยศึกษาทดลองปลูกพืชเขตหนาวทดแทนการปลูกฝิ่น มีสถานีวิจัยหลัก ๔ แห่ง เมื่อได้ผลสำเร็จแล้วนำไปขยายผลในพื้นที่หมู่บ้านชาวเขา โดยมีศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทำหน้าที่ส่งเสริมขยายผลในพื้นที่ ๓๘ ศูนย์...
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงทราบถึงปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรในพื้นที่ตำบลแม่สอย อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีความเป็นอยู่ยากลำบากเนื่องจากสภาพอากาศแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ำ ดินมีคุณภาพต่ำ และมีปัญหาเรื่องที่ดินทำกิน...
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาวิเคราะห์ปัญหาดิน ในเอกสาร “Soil Dev การพัฒนาดิน” ที่พระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับโครงการที่ดิน ต.บ้านพริก อ.บ้านนา จ.นครนายก ว่ามีสภาพใกล้เคียงกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อ.เมือง จ.นราธิวาส คือ ...
เมื่อปี ๒๕๑๒ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในเขตจังหวัดราชบุรีและจังหวัดนครปฐมประสบปัญหาเดือดร้อนเกี่ยวกับการจำหน่ายน้ำนมดิบ และได้มีหนังสือกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ขอพระราชทานความช่วยเหลือแก้ไขปัญหาดังกล่าว...
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาวิเคราะห์ดินที่มีปัญหา ในเอกสาร “SoilDev การพัฒนาดิน” เกี่ยวกับโครงการสหกรณ์สันกำแพง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ สรุปว่า เป็นดินลูกรัง ขาดน้ำ และต้นเหตุของปัญหา : มีการทำลายป่าไม้ เมื่อเริ่มพัฒนามีการ clear (ปอกเปลือก) พื้นที่ โดยตัดไม้ถอนรากให้หมดเตียน และไม่มีการป้องกันมิให้ ดินลูกรังที่เหลืออยู่มาก ถูกชะล้างลงห้วยโดยเร็ว (water...
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาวิเคราะห์ดินดังปรากฏในเอกสาร “Soil Dev การพัฒนาดิน” ที่พระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับปัญหาดินของโครงการหุบกะพง - ดอนขุนห้วย จ.เพชรบุรี สรุปว่า : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ดินดาน ขาดน้ำ ต้นเหตุของปัญหามาจาก มีการทำลายป่าไม้ เมื่อเริ่มพัฒนาพื้นที่มีสภาพคล้ายศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี ...
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาวิเคราะห์ปัญหาดิน ในเอกสาร “Soil Dev การพัฒนาดิน” ที่พระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับโครงการหนองพลับ - กลัดหลวง ต.หนองพลับ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ว่า...
โครงการปากพนัง หรือโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เป็นโครงการแก้ไขปัญหาน้ำเค็มรุกตัวเข้าไปในแม่น้ำปากพนัง ทำให้พื้นที่การเกษตรประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ไร่ มีปัญหาดินเค็ม เพาะปลูกไม่ได้ผล โดยเฉพาะพื้นที่ดังกล่าวเป็นที่ราบลุ่ม ...
โครงการเขาชะงุ้ม หรือ โครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี มี กรมพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานประสานการดำเนินงาน ประกอบด้วยพื้นที่ ๔ ส่วน รวม ๘๖๙ ไร่ ๓ งาน ๒๒ ตารางวา คือ ...
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน จังหวัดสกลนคร มีกรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลักในการประสานการดำเนินงานศึกษาทดลองพัฒนาพื้นที่แห้งแล้ง ดินคุณภาพต่ำและมีเกลือใต้ดินทำให้มีปัญหาดินเค็ม โดยการพัฒนาแหล่งน้ำสร้างความชุ่มชื้นฟื้นฟูป่า แก้ปัญหาดินเค็ม ส่งเสริมอาชีพเกษตรกร การเลี้ยงสัตว์ พัฒนาอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือนเป็นอาชีพเสริม ตามความเหมาะสมของทรัพยากรในท้องถิ่น ...
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาวิเคราะห์ปัญหาดินของ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาคุ้งกระเบน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี สรุปว่า ดินเค็ม เพราะน้ำทะเลขึ้นถึง มีพระราชดำรัส พระราชทานแก่คณะกรรมการ กปร. และคณะเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๑ ณ ศาลาดุสิดาลัย เกี่ยวกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาคุ้งกระเบน บางตอน ความว่า ...
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาวิเคราะห์ปัญหาดิน ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สรุปว่า เป็นดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ต้นเหตุของปัญหามาจากการตัดป่า แล้วปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพดและมันสำปะหลังซึ่งทำให้ดินจืดและกลายเป็นดินทราย ในฤดูแล้งจะมีการชะล้างเนื่องจากลมพัด ในฤดูฝนจะมีการชะล้างเนื่องจากน้ำกัดเซาะ ...
ประมวลพระบรมราโชวาทและข้อแนะนำทางเทคนิค (พ.ศ. 2512–2546) ด้วยความเอาพระทัยใส่และทรงติดตามพัฒนาการของโครงการพระราชดำริฝนหลวงโดยใกล้ชิดตลอดมา ได้ทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทและข้อแนะนำทางเทคนิค รวมทั้งพระราชทานแนวทางและรูปแบบการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและการปฏิบัติการฝนหลวงเป็นแบบอย่างมาโดยตลอด ...
ฝนหลวง คือ โครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดำริส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีจุดประสงค์เพื่อสร้างฝนเทียมสำหรับบรรเทาความแห้งแล้งให้แก่เกษตรกรเมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อน ทุกข์ยากของราษฎร และเกษตรกรที่ขาด แคลนน้ำ อุปโภค บริโภค และการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ พระร...
ภูมิสังคม “…การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศ ภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเราจะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนำ เราเข้าไป ไปช่วยโดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง…” ...
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ทรงใช้หลักการของการพัฒนาที่ต้องเป็นไปตามขั้นตอน คำนึงถึงสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และสังคมวิทยาของแต่ละท้องถิ่นทีมีความแตกต่างกันด้วยเสมอ ดังพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความตอนหนึ่งว่า “...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา คือนิสัยใ...
การกำจัดขยะและน้ำเสียตามแนวพระราชดำริ ในโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยใช้หลัก“กลไกธรรมชาติ ช่วยธรรมชาติ ใช้เทคโนโลยีที่สร้างได้ง่าย และประหยัด” ดังพระราชดำรัสว่า “...ปัญหาสำคัญ คือ เรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องน้ำเสียและขยะ ได้ศึกษามาแล้วเหมือนกัน ทำไม่ยากนัก ในทางเทคโนโลยีทำได้ แล้วในเมืองไทยเองก็ทำได้...” ...
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ และทำให้ตระหนักถึงความสำคัญของพันธุกรรมพืชต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพื่อให้มีการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติที่นำผลประโยชน์มาถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจนให้มีการจัดทำระบบข้อมูลพันธุกรรมพืช ให้แพร่หลายสามารถสื่อถึงกันได้ท...
เป็นโครงการแรกที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองร่วมกันทำการเกษตรในโรงเรียน แล้วนำผลผลิตที่ได้ มาประกอบเป็นอาหารกลางวัน โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเงิน สิ่งของ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ วัสดุอุปกรณ์การเกษตร และอุปกรณ์การประกอบอาหารให้แก่โรงเรียนในโครงการ การดำเนินงานของโครงการนี้นอกจากจะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหารกลางวันแล้ว ยังทำให้เด็ก...