• สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านหลักปฏิบัติงานโครงการพัฒนา

    ๑๒ มิถุนายน ๒๔๙๗ พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปดังนี้ “...ประเทศบ้านเมืองจะวัฒนาถาวรอยู่ได้ ก็ย่อมอาศัยความสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานท่าน ทั้งหลายจะออกไปรับราชการก็ดี หรือประกอบกิจการงานส่วนตัวก็ดี ขอให้มั่นอยู่ในคุณธรรมทั้ง ๓ ประการคือ สุจริตต่อบ้านเมือง สุจริตต่อประชาชน และสุจริตต่อหน้าที่...” ๑๘ เมษายน ๒๕๐๓...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อม (หญ้าแฝก)

    ๒๒ และ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ พระราชทานพระราชดำริ แก่ นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ณ สวนจิตรลดาฯ และ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สรุปดังนี้ ให้ศึกษาทดลองการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดินในพื้นที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ และพื้นที่อื่นๆ ที่เหมาะสมกว้างขวาง โดยเฉพาะศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และศูนย์ศึก...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำริ รัชกาลที่ ๙ ด้านการเกษตร (ข้าว)

    ๖ มีนาคม ๒๕๑๔ พระราชดำรัส ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินไปทรงดนตรี ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “เวลานึกถึงทำไมมีข้าวมาก ราคาข้าวก็ตก ก็น่าจะเป็นการดีที่มีข้าวมาก พวกเราที่บริโภคข้าวก็จะได้ซื้อข่าวในราคาถูก แต่หารู้ไม่ว่าข้าวที่บริโภคทุกวันนี้ ราคาก็ยังแพงเป็นที่เดือดร้อน แก่ประชาชนทั่วไป ก็ต้องหาเหตุผล ทำไมแพง ข้าวที่บริโภคแพงและข้าวที่ชาวนาขายถูก เข้าไปหากลุ่มชาวนา ถามเขาว่าเป็นอย่างไร เขาบอกว่าแย่ ...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านโครงการพัฒนาการเกษตร (ทฤษฎีใหม่)

    สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านโครงการพัฒนาการเกษตร (ทฤษฎีใหม่) ๔ ธันวาคม ๒๕๓๕ พระราชดำรัส ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต “...ทำทฤษฎีใหม่ เพื่อที่จะให้ประชาชนมีโอกาสทำเกษตรกรรมให้พอกิน ถ้าน้ำมีพอดีในปีไหน ก็สามารถที่จะประกอบการเกษตรหรือปลูกข้าวที่เรียกว่านาปีได้ ถ้าต่อไปในหน้าแล้งมีน้ำน้อย ก็สามารถที่จะใช้น้ำที่กักไว้ในสระเก็บน้ำของแต่ละแปลงมาทำการเพาะ...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านการเกษตร (การพัฒนาดิน)

    ๒๕ สิงหาคม ๒๕๒๔ เสด็จฯ ไปยังแปลงทดลองปลูกพืชในดินพรุของศูนย์พัฒนาที่ดินนราธิวาส มีพระราชดำรัสกับเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน ความว่า “ให้ปรับปรุงที่ดินที่ราษฎรทำกินอยู่แล้วให้ดีขึ้น โดยไม่ต้องบุกรุกที่ใหม่ ให้สามารถทำนาได้ทุกๆ ปี และให้มีการปลูกป่าโดยใช้ไม้พันธุ์ในท้องถิ่น เพื่อให้สามารถทนทานต่อภูมิอากาศได้เป็นอย่างดี” ๑๖ กันยายน ๒๕๒๗ พระราชดำรัส เกี่ยวกับการดำเนินการศึกษาวิจัยพื้นที่ดินเปรี้ย...

    อ่านต่อ »

  • "องค์ความรู้จากโครงการลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิง"

    โครงการลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิง หรือ โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ และ อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๒๗ โดยในระยะแรกเป็นการจัดสรรที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยให้แก่ราษฎร การพัฒนาแหล่งน้ำโดยการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ฝายต้นน้ำลำธาร บ่อน้ำบาดาลพัฒนาโครงการพื้นฐาน...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ

    ๑๔ เมษายน ๒๕๒๐ พระราชดำรัส ณ พื้นที่อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี “...การที่จะมีต้นน้ำลำธารไปชั่วกาลนานนั้นสำคัญอยู่ที่การรักษาป่าและปลูกป่าบริเวณต้นน้ำซึ่งเป็นยอดเขาและเนินสูง ต้องมีการปลูกป่าโดยไม้ยืนต้น และปลูกไม้ฟืนซึ่งไม้ฟืนนั้นราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้ แต่ต้องมีการปลูกป่าทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นนั้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้นเป็นขั้นตอนหนึ่งของระบบการให้ฝนตกแบบธรรมชาติ ทั้งยังช่วยยึดดินบน...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "โครงการอ่างเก็บน้ำลำพะยัง"

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริเมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ ให้ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำลำพะยังและขยายระบบส่งน้ำของอ่างเก็บลำพะยัง พร้อมทั้งให้พิจารณาขุดสระน้ำประจำไร่นาตามแนวทฤษฎีใหม่ บริเวณพื้นที่บ้านแดนสามัคคี ตำบลคุ้มเก่า อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "โครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำ"

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ ให้พิจารณาวางโครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำ จังหวัดสกลนคร - นครพนม เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรบริเวณสองฝั่งของลำน้ำก่ำที่ประสบปัญหาน้ำท่วมในช่วงฤดูฝนและขาดแคลนน้ำทำการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ ด้านโครงการแบบบูรณาการ (เศรษฐกิจพอเพียง)

    ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗ พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต “...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มี สิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบ และทำงานตั้งจิตอธิษฐาน ตั้งปณิธานในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต...

    อ่านต่อ »

  • สรุปพระราชดำรัส รัชกาลที่ ๙ (ด้านโครงการพัฒนาแบบบูรณาการ)

    (ด้านโครงการพัฒนาแบบบูรณาการ) ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๖ พระราชดำรัส ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี “กรมกองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตประชาชนทุกด้านของการพัฒนา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นปรองดองกัน ประสานงานกัน” “เป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างทุกด้านของชีวิตประชาชน ที่จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะทำอย่างไร และได้เห็นวิทยาการแผนใหม่ สาม...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง"การพัฒนาข้าวไทย"

    ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทยและประชากรโลก เมืองไทยได้ชื่อว่าเป็นแผ่นดินที่ผลิตข้าวเลี้ยงชาวโลกอยู่ในลำดับต้นๆ โดยเฉพาะหลักฐานทางโบราณคดี พบว่า คนโบราณที่อาศัยอยู่ในถ่ำปุงฮุง จังหวัดแม่ฮ่องสอน รู้จักนำข้าวมาปลูกและหุงข้าวด้วยกระบอกไม้ไผ่ เมื่อประมาณ 10,000 ปีมาแล้ว คนโบราณที่โนนนกทา จังหวัดขอนแก่น และบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี นำ “ข้าวป่า” มาปลูกจนหางข้าวป่าหดหายเปลี่ยนเป็น “ข้าวปลูก” ที่สมบูรณ์ เมื่อป...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "โครงการพัฒนาที่ราบเชิงเขา"

    เมื่อปี พ.ศ. 2521 พื้นที่ราบเชิงเขาบรรทัดในเขตอำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอเมืองสระแก้ว อำเภอวัฒนานคร และอำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว เป็นเขตติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมาและบุรีรัมย์เป็นพื้นที่ที่มีการแทรกซึมและใช้เป็นฐานปฏิบัติการของผู้ก่อการร้ายซึ่งได้บังคับให้ราษฎรในท้องที่ส่งเสบียง ยารักษาโรค และอาวุธตลอดจนใช้เป็นฐานในการปลุกระดมมวลชน ซึ่งเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติ ราษฎรที่อาศัยอยู่ในบร...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "โครงการพัฒนาที่ราบเชิงเขา"จังหวัดปราจีนบุรี-สระแก้ว

    เมื่อปี พ.ศ. 2521 พื้นที่ราบเชิงเขาบรรทัดในเขตอำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอเมืองสระแก้ว อำเภอวัฒนานคร และอำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว เป็นเขตติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมาและบุรีรัมย์ เป็นพื้นที่ที่มีการแทรกซึมและใช้เป็นฐานปฏิบัติการของผู้ก่อการร้ายซึ่งได้บังคับให้ราษฎรในท้องที่ส่งเสบียง ยารักษาโรค และอาวุธตลอดจนใช้เป็นฐานในการปลุกระดมมวลชน ซึ่งเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติ ...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "เขื่อนขุนด่านปราการชล"

    เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดำเนินการโครงการพัฒนาลุ่มน้ำนครนายกตอนบน โดยให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ที่บ้านท่าด่าน ตำบลหินตั้ง อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก เพื่อเก็บกักน้ำไว้ใช้ในการเกษตรกรรม อุปโภค - บริโภค แก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว และช่วยบรรเทาอุทกภัยในเขตจังหวัดนครนายก ...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "อ่างเก็บน้ำห้วยใหญ่วังแขม"

    โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยใหญ่วังแขม อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี เกิดขึ้นจากราษฎรในเขตพื้นที่ตำบลมหาโพธิ์ ตำบลสระโบสถ์และตำบลใกล้เคียง อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ได้รับความเดือดร้อนจากการขาดแคลนน้ำทำนา เนื่องจากฝายที่สร้างไว้เดิมชำรุด และอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ กรมชลประทานจึงได้ดำเนินการก่อสร้างใหม่เป็นฝายถาวร (ฝายวังแขม) โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อปี ๒๕๑๙ แล้วเสร็จปี ๒๕๒๐ ฝายวังแขมรับน้...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์"

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงทราบปัญหาน้ำท่วมและขาดแคลนน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำป่าสัก ได้พระราชทานพระราชดำริ เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๒ ให้กรมชลประทานศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการเขื่อนเก็บกักน้ำแม่น้ำป่าสัก เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำป่าสัก พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "โครงการพัฒนาแหล่งน้ำวัดบ้านไร่(หลวงพ่อคูณ)"

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินไปทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดบ้านไร่ ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๓๘ ในการนี้พระราชทานพระราชดำริให้พิจารณาวางโครงการก่อสร้างและปรับปรุงแหล่งเก็บกักน้ำในลำห้วยสาขาต่างๆ ของห้วยสามบาท ปรับปรุงอ่างเก็บน...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "อ่างเก็บน้ำโนนศรีสง่า"

    พื้นที่ราบเชิงเขาบริเวณเทือกเขาภูเขียว ในหลายหมู่บ้าน ได้แก่ บ้านโหล่น บ้านโนนศรีสง่า บ้าน คลองเจริญ และบ้านโนนเหมา ต.นางแดด อ.หนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ ในอดีตตั้งแต่ก่อนปี ๒๕๒๗ ที่ผ่านมา ประสบปัญหาหนักทั้งขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคในพื้นที่ และไม่สามารถประกอบอาชีพการเกษตรได้มายาวนาน จึงจำเป็นต้องพากันหันไปบุกรุกตัดไม้ทำลายป่า ล่าสัตว์เพื่อเลี้ยงชีพ จนพื้นที่ป่าที่เป็นป่าต้นน้ำของแม่น้ำชีมีสภาพเ...

    อ่านต่อ »

  • องค์ความรู้เรื่อง "อ่างเก็บน้ำห้วยเดียก"

    เมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๒๔ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรบริเวณที่ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยเดียก บ้านนาคำ ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร มีพระราชดำริ เกี่ยวกับงานชลประทาน ...

    อ่านต่อ »

123456...9( 180 แนวคิดทฤษฎี )

curve