• พออยู่พอกิน

    พออยู่พอกิน การพัฒนาเพื่อให้พสกนิกรทั้งหลายประสบความสุขสมบูรณ์ในชีวิต ได้เริ่มจากการเสด็จฯไปเยี่ยมประชาชนทุกหมู่เหล่าในทุกภูมิภาคของประเทศ ได้ทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของราษฎรด้วยพระองค์เอง จากนั้นได้พระราชทานความช่วยเหลือให้มีความอยู่ดีกินดี มีชีวิตอยู่ในขั้น “พออยู่พอกิน” ก่อน แล้วจึงขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า “ถ้าโครงการดี ในไม่ช้า ประชาชนก็ได้กำไร จะได้ผ...

    อ่านต่อ »

  • พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต

    ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ แต่ละแห่ง มีลักษณะ “ปัญหา ที่เฉพาะและแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค” ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชวินิจฉัยเกี่ยวกับสภาพปัญหาของแต่ละแห่ง ไว้อย่างชัดเจน จุดเริ่มต้นของการจัดตั้งศูนย์ศึกษาฯ เกิดขึ้น เมื่อวันพุธที่ 8 สิงหาคม 2522 เวลา 15.00 น. พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังบ้านเขาหินซ้อน หมู่ที่ 2 ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคราม จังหวัดฉะเชิงเทรา ณ ที่นั้น...

    อ่านต่อ »

  • การพึ่งตนเอง

    การพึ่งตนเอง “…การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพ และตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ก่อนอื่นเป็นสิ่งสำคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพ และฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป…” ...

    อ่านต่อ »

  • ขาดทุนคือกำไร

    ขาดทุนคือกำไร ขาดทุน คือ กำไร (Our loss is our gain…) การเสีย คือ การได้ ประเทศก็จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้...ต่อพสกนิกรชาวไทย “การให้” “การเสียสละ” เป็นการกระทำอันมีผลเป็นกำไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร.... ...

    อ่านต่อ »

  • ปลูกป่าในใจคน

    ปลูกป่าในใจคน พระราชดำรัสตอนหนึ่งความว่า “….เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง” ...

    อ่านต่อ »

  • อธรรมปราบอธรรม

    อธรรมปราบอธรรม แนวปฏิบัติที่สำคัญในการแก้ปัญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติให้ เข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การนำน้ำดีขับไล่น้ำเสีย หรือเจือจางน้ำเสียให้กลับเป็นน้ำดี ตามจังหวะการขึ้นลงตามธรรมชาติของน้ำ การบำบัดน้ำเสียโดยใช้ผักตบชวาซึ่งมีตามธรรมชาติ ให้ดูดซับสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้ำ ดังพระราชดำรัสว่า “ใช้อธรรมปราบอธรรม” ...

    อ่านต่อ »

  • ประโยชน์ส่วนรวม

    ประโยชน์ส่วนรวม การปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชดำริ ในการพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงระลึกถึง ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ ...

    อ่านต่อ »

  • การมีส่วนร่วม

    การมีส่วนร่วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักประชาธิปไตย “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมกัน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องคำนึงถึงความคิดของประชาชน ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า “…สำคัญที่สุดจะต้องหัดทำใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย...

    อ่านต่อ »

  • ทำให้ง่าย Simplicity

    ทำให้ง่าย Simplicity ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำให้การคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการพัฒนาเป็นไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่สำคัญคือสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศน์โดยส่วนรวมใช้กฎ แห่งธรรมชาติเป็นแนวทาง ฉะนั้น คำว่า “ทำให้ง่าย”จึงเป็นหลักคิดสำคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศในรูปแบบของโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ...

    อ่านต่อ »

  • ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

    ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ในเรื่องของความประหยัดนี้ ประชาชนชาวไทยทราบกันดีว่าเรื่องส่วนพระองค์ทรงใช้อย่างคุ้มค่าอย่างไร หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยู่เป็นเวลานานดังที่นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เคยเล่าว่า “...กองงานในพระองค์โดยท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ บอกว่าปีหนึ่งพระองค์เบิกดินสอ 12 แท่ง เดือนละแท่งใช้จนกระทั่งกุด ใครอย่าไปทิ้งของท่านนะจะกริ้วเลย ประหยัดทุกอย่าง...

    อ่านต่อ »

  • ไม่ติดตำรา

    ไม่ติดตำรา การพัฒนาตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือ “ไม่ติดตำรา” ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ ที่แท้จริงของคนไทย ...

    อ่านต่อ »

  • องค์รวม

    องค์รวม ทรงมีชีวิตคิดอย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ในการที่จะพระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้นจะทรงมองเหตุการณ์ ที่จะเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณีของ “ทฤษฎีใหม่” ที่พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพนับเป็นแนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมองอย่างองค์รวม ตั้งแต่การถือครองที่ดิน โดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทยประมาณ ๑๐ – ๑๕ ไร่ เพื่อการบริหารจัดการที่...

    อ่านต่อ »

  • ทำตามลำดับขั้น

    ทำตามลำดับขั้น “…การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัต...

    อ่านต่อ »

  • แก้ปัญหาที่จุดเล็ก

    แก้ปัญหาที่จุดเล็ก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเปี่ยมไปด้วยพระอัจฉริยภาพในการแก้ปัญหา ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของพระองค์จะเริ่มจากจุดเล็ก ๆ คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักจะมองข้าม ดังพระราชดำรัสที่ว่า “…..ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก…….. เป็นอย่างนั้นต้องแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน……..มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ในสภาพที่คิดได้…….แบบ Ma...

    อ่านต่อ »

  • ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ

    การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งนั้น จะทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ทั้งจากข้อมูลเบื้องต้น จากเอกสาร แผนที่ สอบถามเจ้าหน้าที่ นักวิชาการและราษฎรในพื้นที่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อที่จะพระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตรงตามความต้อง การของประชาชน ...

    อ่านต่อ »

  • ป่าเปียกหรือภูเขาป่า

    ในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้บนภูเขาในพื้นที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ซึ่งเป็นภูเขาโดดๆ มิใช่เทือกเขา ขาดแหล่งน้ำในพื้นที่ด้านบนภูเขา การปลูกต้นไม้ขึ้นมาใหม่โดยปลูกกระจายให้เต็มพื้นที่ของภูเขาเป็นเรื่องที่กระทำได้ยากเนื่องจากขาดความชุ่มชื้น ซึ่งเมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นอกจากมีพระราชดำริ ให้สร้างฝายชะลอความชุมชื้นตามร่องน้ำบนภูเขา เพื่อสร้างความชุ่มชื้นในสองฝั่งข...

    อ่านต่อ »

  • เครื่องกรองน้ำธรรมชาติ

    “...บึงมักกะสันนี้ ทำโครงการที่เรียกว่าแบบคนจน โดยใช้หลักว่าผักตบชวาที่มีอยู่ทั่วไปนั้น เป็นพืชดูดความโสโครกออกมาแล้วก็ทำให้น้ำสะอาดขึ้นได้ เป็นเครื่องกรองธรรมชาติใช้พลังงานแสงอาทิตย์และธรรมชาติของการเติบโตของพืช...” และเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2533 ได้พระราชทานพระราชดำริว่า “...การสร้างทางด่วนใหม่ทำให้น้ำในบึงไม่ถูกแสงแดด จึงใช้วิธีธรรมชาติในการบำบัดน้ำเสียโดยผักตบชวาไม่ได้ในปัจจุบันซึ่งควรใช้เค...

    อ่านต่อ »

  • อุโมงค์ผันน้ำ

    เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานพระราชดำริให้ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำลำพะยัง และขยายระบบส่งน้ำของอ่างเก็บน้ำลำพะยังพร้อมทั้งให้พิจารณาขุดสระน้ำประจำไร่นาตามแนวทฤษฎีใหม่ และเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้พระราชทานพระราชดำริให้พิจารณาผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำห้วยไผ่ ซึ่งอยู่ทางฟากจังหวัดมุกดาหารมาเติมให้แก่ อ่างเก็บน้ำลำพะยังเพื่อขยายพื้นที่รับน้ำชลประทานได้มาก...

    อ่านต่อ »

  • โคเนื้อภูพาน

    โคทาจิมะภูพาน เป็นสายพันธุ์หนึ่งของพันธุ์หวากิว ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งผลิตเนื้อมีคุณภาพสูงที่สุด มีคุณภาพซากสูงกว่าทุกสายพันธุ์ เป็นที่รู้จักในชื่อ โกเบ บีฟ และ มัตซึซากะ บีฟ ถือว่าเป็นโคที่ให้เนื้อมีคุณภาพดีที่สุดในโลก โดย โคทาจิมะ เข้ามาสู่ประเทศไทยในปี 2531 จากการที่ สมาคมผู้เลี้ยงโคหวากิว เมืองโฮซากา ประเทศญี่ปุ่น น้อมเกล้าฯ ถวายโคหวากิวสายพันธุ์ทาจิมะให้กับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี...

    อ่านต่อ »

  • ไบโอดีเซล

    "...น้ำมันปาล์มทราบว่าดีเป็นน้ำมันที่ดีใช้งานได้ ใช้บริโภคแบบใช้น้ำมันมาทอดไข่ได้ มาทำครัวได้ เอาน้ำมันปาล์มมาใส่รถดีเซลได้ กำลังของน้ำมันปาล์มนี้ดีมากได้ผล เพราะว่าเมื่อได้มาใส่รถดีเซลไม่ต้องทำอะไรเลย ใส่เข้าไป แล่นไป คนที่แล่นตามบอกว่าหอมดี... นับเป็นความโชคดีของประชาชนชาวไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีสายพระเนตรยาวไกล ทรงเห็นประโยชน์ของพลังงานทดแทนจากพืช พระองค์ทรงริเริ่มให้มีการวิจัยทดลองผ...

    อ่านต่อ »

1 ...5678910( 181 แนวคิดทฤษฎี )

curve