โครงการ เขื่อนแม่กวงอุดมธารา

สถานที่ตั้ง

อำเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่

รายละเอียดโครงการ ถอดบทเรียน

เขื่อนแม่กวงอุดมธารา ประกอบด้วย เขื่อน (Dam ) ประกอบด้วย 3 เขื่อน เขื่อนหลัก (Main Dam)หรือมีชื่อว่า เขื่อนแม่กวงอุดมธารา เขื่อนปิดช่องเขาขาดฝั่งขวา (Right Saddle Dam) เขื่อนปิดช่องเขาขาดฝั่งซ้าย (Left Saddle Dam)
 ความจุที่เก็บกักน้ำ 263  ลบ.ม. พื้นที่รับน้ำ 569  ตารางกิโลเมตร             

 

ส่วนที่ 1 สิ่งก่อสร้างและระบบชลประทาน

1. ชื่อโครงการ ...................เขื่อนแม่กวงอุดมธารา........................................................

2. ที่ตั้ง บ้าน ..ผาแตก.........ตำบล....ลวงเหนือ...... อำเภอ...ดอยสะเก็ด.....จังหวัด.....เชียงใหม่……...

    ลุ่มน้ำหลัก .........แม่น้ำปิง.............ลุ่มน้ำสาขา.......ลำน้ำกวง..............ลุ่มน้ำย่อย.....แม่ลาย..............

เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ......2519.........ก่อสร้างเสร็จ เมื่อปี พ.ศ..............2536.....

2.สถานภาพโครงการ        

 3.1 อ่างเก็บน้ำ                                                                                                                              

เขื่อน (Dam ) ประกอบด้วย 3 เขื่อน

เขื่อนหลัก (Main Dam)หรือมีชื่อว่า เขื่อนแม่กวงอุดมธารา

-- เริ่มก่อสร้าง ปี พ.ศ. 2530 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2536 โดยจ้างเหมาดำเนินการ

-- เป็นเขื่อนดินชนิด Zoned Earth Fill โดยมีแกนกลางเป็นดินเหนียว

-- สันเขื่อนอยู่ที่ระดับ +390.00 เมตร (ที่ระดับน้ำทะเลปานกลาง)

-- ความยาวสันเขื่อน 610 เมตร

-- ความกว้างผิวจราจรบนสันเขื่อน 10 เมตร

-- ปริมาตรดินถมตัวเขื่อน 4,900,000 ลูกบาศก์เมตร

เขื่อนปิดช่องเขาขาดฝั่งขวา (Right Saddle Dam)

-- เริ่มก่อสร้าง ปี พ.ศ. 2530 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2536 โดยจ้างเหมาดำเนินการ

-- เป็นเขื่อนดินชนิด Zoned Earth Fill โดยมีแกนกลางเป็นดินเหนียว

-- สันเขื่อนอยู่ที่ระดับ + 390.00 เมตร (ที่ระดับน้ำทะเลปานกลาง)

-- ความยาวสันเขื่อน 640 เมตร

-- ความสูงตัวเขื่อน 42 เมตร

-- ความกว้างผิวจราจรบนสันเขื่อน 8 เมตร

-- ปริมาตรดินถมตัวเขื่อน 1,600,000 ลูกบาศก์เมตร

-- ใต้ตัวเขื่อนได้สร้างท่อส่งน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางด้านเหนือน้ำ 1.20 เมตร

เขื่อนปิดช่องเขาขาดฝั่งซ้าย (Left Saddle Dam)

-- เริมก่อสร้างปี พ.ศ. 2521 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2536 โดยดำเนินการเอง

-- เป็นเขื่อนดินชนิด Zoned Earth Fill

-- สันเขื่อนอยู่ที่ระดับ + 390.00 เมตร (ที่ระดับน้ำทะเลปานกลาง)

-- มีความยาวสันเขื่อน 655 เมตร

-- ความสูงตัวเขื่อน 54 เมตร

-- ความกว้างผิวจราจรบนสันเขื่อน 10 เมตร

--- ปริมาตรดินถมตัวเขื่อน 2,730,000 ลูกบาศก์เมตร

--ใต้ตัวเขื่อนได้ก่อสร้างท่อส่งน้ำขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านเหนือน้ำ 3.00 เมตร

   ความจุที่เก็บกักน้ำ     263           ลบ.ม.                    พื้นที่รับน้ำ   569   ตารางกิโลเมตร             

 อาคารระบายน้ำล้น ชนิด รูปพัด (Fan Shape)  ความสามารถระบายน้ำ  1,470  ลบ.ม./วินาที

ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจริงหลังมีโครงการ

1 พื้นที่การเกษตร

                พื้นที่การเกษตรรวมทั้งหมด       175,000        ไร่   แบ่งเป็น

        ฤดูฝน

  พื้นที่ปลูกข้าว                          จำนวน     110,000   ไร่   ผลผลิต          750           กก./ไร่   

  พื้นที่ปลูกพืชสวนพืชไร่             จำนวน        5,000    ไร่  ผลผลิต         1,000         กก./ไร่   

  พื้นที่ปลูกพืชผักสวนครัว            จำนวน        5,000    ไร่  ผลผลิต          1,000         กก./ไร่   

    

        ฤดูแล้ง

  พื้นที่ปลูกข้าว                                จำนวน  30,000   ไร่   ผลผลิต          700         กก./ไร่   

  พื้นที่ปลูกพืชผักสวนครัว           จำนวน   10,000   ไร่  ผลผลิต           1,000     กก./ไร่   

    การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

        พื้นที่บ่อเลี้ยงทั้งหมด     1,968                      ไร่ ความลึกเฉลี่ยของบ่อ      3       เมตร

                2.2 เพื่อการอุปโภคบริโภค สามารถส่งน้ำช่วยเหลือได้       40,000    ครัวเรือน จำนวน     160,000      คน

3. สรุปผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นในภาพรวม

1. น้ำกิน น้ำใช้    จำนวน     40,000    ครัวเรือน    

2. เพาะปลูกในฤดูฝน จำนวน.  148,400   ไร่

3. เพาะปลูกในฤดูแล้ง  จำนวน   68,400   ไร่                            

4. อุตสาหกรรม จำนวน.     1       แห่ง

 

  • ประเภทโครงการ : โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

curve